กฎหมาย
พระราชบัญญัติภายใต้การดูแลของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
พรบ. ยา พ.ศ. 2510
พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522
พรก. ป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533
พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พรบ. เครื่องสำอาง พ.ศ. 2558
พรบ. วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
พรบ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562
พรบ. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562
พรบ. เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2562
แนวทางการขึ้นทะเบียนเครื่องมือแพทย์
เอกสารหลักฐาน เบื้องต้น
1.ใบทะเบียนการค้าหรือใบทะเบียนพาณิชย์ (สำเนา 1 ฉบับ)
ประเภทการใช้เอกสาร: กรณีบุคคลธรรมดา 2.หนังสือรับรองบริษัท/ห้างหุ้นส่วนและวัตถุประสงค์ (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
หมายเหตุ: เชื่อมโยงจากฐานข้อมูลของภาครัฐ 3.หนังสือมอบอำนาจแต่งตั้งให้เป็นผู้ดำเนินกิจการ (กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเป็นชาวต่างชาติใช้สำเนา passport หรือworkpermit เพิ่มเติม) (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
หมายเหตุ: ลงนามรับรองโดยกรรมการผู้มีอำนาจลงนามตามเงื่อนไขบริษัท พร้อมประทับตรา (ถ้ามี) ของ ผู้มอบและรับมอบอำนาจ
4.ใบรับรองแพทย์ ซึ่งรับรองว่าผู้ขอจดทะเบียน หรือผู้ดำเนินกิจการไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา 16 (7) แห่งพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551 (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
หมายเหตุ: ออกไม่เกิน 1 เดือนนับจากวันที่ยื่นคำขอ
5.แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานที่นำเข้าเครื่องมือแพทย์ สถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ และสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
6.แผนผังสถานที่นำเข้าและสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ที่ถูกต้องตามมาตราส่วน (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
7.ภาพถ่ายภายในบริเวณสถานที่นำเข้าและสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
8.หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ (กรณีที่ตั้งสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ไม่มีระบุในหนังสือรับรองนิติบุคคล/ใบทะเบียนพาณิชย์) (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
หมายเหตุ: ลงนามรับรองโดยกรรมการผู้มีอำนาจลงนามตามเงื่อนไขบริษัท พร้อมประทับตรา (ถ้ามี) ของผู้มอบและรับมอบอำนาจ
9.ทะเบียนบ้านสถานที่นำเข้าเครื่องมือแพทย์ (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
หมายเหตุ: เชื่อมโยงจากฐานข้อมูลของภาครัฐ
10.ทะเบียนบ้านสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือแพทย์ (ฉบับจริง 1 ฉบับ)
ประเภทการใช้เอกสาร: กรณีคนละแห่งกับสถานที่นำเข้าเครื่องมือแพทย์
หมายเหตุ: เชื่อมโยงจากฐานข้อมูลของภาครัฐ 11.คำขอจดทะเบียนสถานประกอบการนำเข้าเครื่องมือแพทย์ (ส.น.1) (ฉบับจริง 1 ฉบับ) r>
หมายเหตุ: ลงนามรับรองโดยผู้ดำเนินกิจการ
12.รูปถ่ายผู้ดำเนินกิจการ (ฉบับจริง 1 ฉบับ) หมายเหตุ: ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน
แนวทางการขึ้นทะเบียนเครื่องสำอาง
เอกสารหลักฐาน เบื้องต้น
1.แบบฟอร์ม จ.ค.๑ ที่กรอกข้อความครบถ้วน
2.ใบควบคุมกระบวนการ (F-C2-1 (1-31/08/63))
3.ใบตรวจรับเอกสารการขอจดแจ้งเครื่องสำอาง(F-C2-2 (2-20/06/61))
4.ใบเสร็จรับเงินค่าบันทึกข้อมูลคำขอในระบบ E-submission
5.ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมคำขอจดแจ้ง
6.เอกสารสูตรเครื่องสำอางซึ่งออกโดยผู้ผลิต
7.LETTER OF AUTHORIZATION
8.หนังสือยินยอมให้แบ่งบรรจุซึ่งออกโดยผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าเครื่องสำอาง
9.หนังสือยินยอมให้รวมบรรจุซึ่งออกโดยผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าเครื่องสำอาง
10.อื่นๆ(ถ้ามี)
แนวทางการขึ้นทะเบียนอาหาร
เอกสารหลักฐาน เบื้องต้น
1.สำเนาทะเบียนบ้านของสถานที่ผลิต
2.ภาพถ่ายสถานที่ผลิตและอุปกรณ์
3.แผนที่ตั้งและพิกัดของสถานที่ผลิต
4.ขั้นตอนการผลิต / สูตรส่วนประกอบ
5.เอกสารแสดงระบบกำจัดของเสีย
6.ใบรับรองแพทย์
7.ชื่อและสูตรการผลิต 100 %
8.กรรมวิธีการผลิต
9.วิธีการบริโภค / ปริมาณในการบริโภค
10.ฉลากสินค้า
11.ผลทดสอบ (ถ้ามี)
12.Specification / Certificate of analysis
13.รายละเอียดบรรจุภัณฑ์
14.วิธีการเก็บรักษา / อายุการเก็บรักษา
15.ข้อกำหนดคุณภาพของวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ
16.เอกสารรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ISO 22000, HACCP and FSSC)
17.เอกสารคำขอและเอกสารอื่นๆตามข้อกำหนดของกลุ่มอาหาร
20 Years Of Experience In FDA
ประสบการณ์การจดทะเบียน อย. 20 ปี
OUR SERVICES
บริการของเรา
อย.เครื่องสำอาง
-
1.ผลิตเครื่องสำอาง
2.นำเข้าเครืองสำอาง
3.ยื่นทดสอบเครื่องสำอาง
ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
-
1.ตรวจสอบความเหมือนคล้าย ตลอด 24 ชั่วโมง (ภายใน 10 นาที)
2.จัดทำเอกสารและยื่นจดทะเบียนภายใน 30 นาที
3.ราชการตรวจสอบและออกหนังสือสำคัญการจดทะเบียนประมาณ 15-20 เดือน - หลังจากยื่นจดทะเบียนแล้วคุ้มครองทันทีและสามารถนำเครื่องหมายการค้าไปใช้ได้เลยไม่ต้องรอหนังสือสำคัญการจดทะเบียน
ข้อมูลการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
-
1.ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ผู้ขอจดทะเบียน
2.ภาพเครื่องหมายการค้า
3.รายการสินค้า/บริการ
เอกสารการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
-
1.หนังสือมอบอำนาจ (ทางเราจัดทำให้)
2.รับรองสำเนาบัตร ประชาชน (กรณีบุคคลธรรมดา)
3.รับรองสำเนาหนังสือรับรองบริษัท (กรณีบริษัท)
ชื่อเครื่องหมายการค้าที่ต้องห้ามรับจดทะเบียน
-
1.เครื่องหมายติดบ่งเฉพาะ (ไม่มีเอกลักษณ์ที่พิเศษ)
2.เครื่องหมายติดติดเหมือนหรือคล้าย
3.เครื่องหมายการค้าที่นำภาพที่เป็นเลขาคณิตทั่วไป/หรือภาพเสมือนจริง มาจดทะเบียนใช้กับสินค้าประเภทนั้น และ ภาพนั้นไม่ได้มีการประดิษฐ์เพียงพอ
4.เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนโดยไม่สุจริต
5. เครื่องหมายการค้าที่ขัดต่อกฎหมาย/ต้องห้ามไม่ให้รับจดทะเบียน
เหตุผลที่ต้องจดเครื่องหมายการค้า
-
1.เครื่องหมายการค้าสร้างมูลค่าและความน่าเชื่อถือในตัวสินค้าได้
2.การประกอบกิจการ การโฆษณา เงินที่ลงทุนไปส่วนหนึ่งจะเป็นกำไร ส่วนหนึ่งจะไปสร้างมูลค่าให้เครื่องหมายการค้า เช่น เครื่องหมาย google มีมูลค่ามากกว่าทรัพย์สินทั้งหมดของ google
3.ปกป้องการปลอมแปลง การเลียนแบบ โดยใช้บังคับทางกฎหมายได้
4.สามารถจำหน่ายเครื่องหมายการค้าหรือให้สิทธิในการใช้เครื่องหมายการค้าได้
5.สามารถนำเครื่องหมายการค้าไปใช้กับสินค้าประเภทอื่นทำให้จำหน่ายได้ง่ายขึ้น
PORTFOLIO